วันศุกร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ประวัติ ปรุฬห์ รุจนธำรงค์


ประวัติการศึกษา:
- พ.ศ.2550 เภสัชศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ.2552 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- พ.ศ.2557 นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปัจจุบัน
          (เม.ย.2555-ปัจจุบัน) นักวิชาการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์การทำงาน:
- เภสัชกรประจำ/ผู้จัดการสาขา, ร้านยาฟาสซิโน สาขาโรบินสันสีลม
- นักวิชาการแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยากร/อาจารย์พิเศษ
- อาจารย์พิเศษคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม วิชา 200-554 กฎหมายทางเภสัชศาสตร์ 
      (1) ปีการศึกษา 2556, 2557 รับผิดชอบเรื่อง พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510, พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522, พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518, พ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2535, พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522, พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535, พ.ร.บ.ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551, กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์สุขภาพ (รวมตลอดวิชาในแต่ละปีการศึกษา 16 ชั่วโมง)
       (2) ปีการศึกษา 2558 รับผิดชอบเรื่อง พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510, พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522, พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518, กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์สุขภาพ (รวม 10 ชั่วโมง)
- วิทยากร เรื่อง "ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม" ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ 8 มิถุนายน 2556, 11 มกราคม 2557, 3 พฤษภาคม 2557, 20 ธันวาคม 2557, 25 กรกฎาคม 2558, 26 มีนาคม 2559, 2 เมษายน 2559 (เวลา 9.00-17.00 น.)
- วิทยากร เรื่อง "กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงธุรกิจ" วันที่ 4 กันยายน พ.ศ.2557 เวลา 13.00-16.00 น. จัดโดยหน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี (TLO-UBI) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
-  วิทยากร เรื่อง "ความแตกต่างระหว่างพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 กับร่างพระราชบัญญัติยา พ.ศ. .... " เวลา 11.00-12.30 น. ณ อาคารเรียนรวมชั้น 1 ห้อง 2-114 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 
- อาจารย์พิเศษ บรรยายเรื่อง "จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม" ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 13.00-14.00 น.
- วิทยากร เรื่อง "ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม" ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559  (เวลา 8.00-16.00 น.)
- วิทยากร เรื่อง "Online ให้ถูกต้อง ในยุค Digital Economy" วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลา 9.00-16.30 น. ณ ห้อง 506 อาคารเรียนรวม 32 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดโดยคณะวิทยาการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 


กิจกรรมอื่นๆ:
1) คณะทำงานประเด็นกฎหมาย องค์กร และกลไกคุ้มครองผู้บริโภค ตามคำสั่งคณะอนุกรรมการยกร่างสาระสำคัญตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 47(8) ที่ 1/2551 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงาน สั่ง ณ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
2) ผู้ทำงานและผู้ช่วยเลขานุการคณะทำงานจัดเวทีสาธารณะเพื่อจัดทำข้อมตินโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อคนไทยเข้าถึงยาถ้วนหน้า  ตามคำสั่งสภาเภสัชกรรม ที่ 123/2551 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทำงานจัดทำมตินโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อคนไทยเข้าถึงยาถ้วนหน้า สั่ง ณ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
3) ผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการอำนวยการจัดประชุมเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย 100 ปี ตามคำสั่งสภาเภสัชกรรมที่ 96/2552 เรื่อง คณะกรรมการจัดประชุมเตรียมการสมัชชาเภสัชกรรมไทย 100 ปี (พ.ศ.2556): บทบาทวิชาชีพเภสัชกรรมไทยและการศึกษาเภสัชศาสตร์ในศตวรรษหน้า สั่ง ณ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2552
4) ผู้ช่วยเลขานุการในคณะอนุกรรมการจัดทำข้อเสนอมาตรการจัดการอันตรายจากแร่ใยหิน ตามคำสั่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคที่ 133/2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำข้อเสนอมาตรการจัดการอันตรายจากแร่ใยหิน สั่ง ณ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2553
5) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพทางวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ และอินเตอร์เน็ต ตามคำสั่งคณะกรรมการอาหารและยาที่ 253/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555
6) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะกรรมการอำนวยการ และคณะกรรมการจัดงานเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 100ปี วิชาชีพเภสัชกรรม ตามคำสั่งสภาเภสัชกรรมที่ 40/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดประชุมสมัชชาเภสัชกรรมไทย 100 ปี (พ.ศ.2556) เพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 100 ปี วิชาชีพเภสัชกรรมและการศึกษาเภสัชศาสตร์ สั่ง ณ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2556
7) อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาและติดตามกฎหมายหรือร่างกฎหมายที่มีผลต่อการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ตามคำสั่งสภาเภสัชกรรมที่ 45/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาและติดตามกฎหมายหรือร่างกฎหมายที่มีผลต่อการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สั่ง ณ วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2556 
8) อนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ตามคำสั่งสภาเภสัชกรรมที่ 14/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสื่อสารประชาสัมพันธ์ สั่ง ณ วันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2557
9) คณะทำงานประสานเพื่อการพัฒนาข้อเสนอประเด็นการจัดการยาสเตียรอยด์ที่คุกคามสุขภาพคนไทย ตามคำสั่งคณะอนุกรรมการวิชาการ ภายใต้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2557 ที่ 10/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานประสานเพื่อการพัฒนาข้อเสนอประเด็น สั่ง ณ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2557 
10) อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ ตามคำสั่งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานที่ 82/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพภาคบริการ สาขาผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ สั่ง ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2558
11) คณะทำงานพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเฉพาะประเด็น วิกฤติการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยาและการจัดการปัญหาแบบบูรณาการ. ตามคำสั่งคณะอนุกรรมการวิชาการ ภายใต้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2558 ที่ 2/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาข้อเสนอนโยบายเฉพาะประเด็นว่าด้วยวิกฤติการณ์เชื้อดื้อยาและการจัดการปัญหาแบบบูรณาการ สั่ง ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2558


งานเขียน/งานวิชาการ
1) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2556). “จรรยาบรรณหรือจริยธรรมเภสัชกร” ใน การบูรณาการการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยไป-กลับ. อภิฤดี เหมะจุฑา และพรอนงค์ อร่ามวิทย์ บรรณาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 284-335
2) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (หนึ่งในทีมผู้เขียนสถานการณ์เด่นทางสขภาพร่างแรก) (2558). สุขภาพคนไทย 2558. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

วารสารสมาคมร้านขายยา 
1ปรุฬห์ รุนธำรงค์ (2558). บัญชียาในร้านขายยาแผนปัจจุบันและเงื่อนไขการขายยา. ารสารยาสมาคมร้านขายยา ประเทศไทย. ฉบับกรกฎาคม-สงหาคม 2558, หน้า 24-32
2) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2558). ร้านยาแบบไหน เจ้าหน้าที่จะไปตรวจยาต้องห้ามารสารยาสมาคมร้านขายยา ประเทศไทย. ฉบับกันยายน-ตุลาคม 2558, หน้า 23-25
3) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2558) .  กฎหมายได้กำหนดอะไรบ้างเพื่อให้ร้านยาเป็นร้านยาเพื่อชุมชน. ารสารยาสมาคมร้านขายยา ประเทศไทย. ฉบับพฤศจิกายน-ธันวาคม 2558, หน้า 23-26

วารสารวงการยา
1) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์. "สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายยา รอบปี พ.ศ.2558". วงการยา. ฉบับเดือนมกราคม 2559 
 
วารสารยาวิพากษ์ (แผนงาน กพย.) 
1ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2553). บทบาทที่เปลี่ยนแปลงของเภสัชกร ตามร่าง พ.ร.บ.ยา ฉบับใหม่. ยาวิพากษ์. ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 ธันวาคม 2553, หน้า 12-13
2ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2555). การจัดการมาตรฐานยาบริจาค. ยาวิพากษ์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 13 มกราคม 2555, หน้า 10-13
3ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2555). เหลียวมองการจัดการปัญหาสเตียรอยด์ในต่างประเทศ. ยาวิพากษ์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 15 ตุลาคม 2555, หน้า 7-10
4ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2556). จากคดีจีเอสเค เมื่ออุตสาหกรรมยาไม่มีความรับผิดชอบต่อสังคม. ยาวิพากษ์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 16 ตุลาคม 2556, หน้า 3-10
5) ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2557). ลำดับเหตุการณ์โดยสังเขปเกี่ยวกับทะเบียนตำรับยาของไทย. ยาวิพากษ์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 20 มกราคม-มิถุนายน 2557, หน้า 19-26
6 ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2557). อาหารสัตว์ผสมยา. ยาวิพากษ์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 21 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557, หน้า 36-40
7)  ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2557). ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหายาสเตียรอยด์. ยาวิพากษ์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 22 กันยายน-ตุลาคม 2557, หน้า 8-9
8)  ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2557). สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ข้อเสนอเชิงประเด็น "การจัดการยาสเตียรอยด์ที่คุกคามสุขภาพคนไทย". ยาวิพากษ์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 22 กันยายน-ตุลาคม 2557, หน้า 15
9 ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ (2558). การควบคุมราคายาและค่าบริการทางการแพทย์ของไทย. ยาวิพากษ์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 26 มีนาคม-พฤษภาคม 2558, หน้า 22-27
 
                         
งานวิจัย                           
1) ผู้ช่วยวิจัย โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการพัฒนาที่สะอาด”. ผศ.ดร.คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม หัวหน้าวิจัย (ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา)
2) ผู้ช่วยวิจัย โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง “โครงการทบทวนและพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบเพื่อการจัดตั้งระบบรายงานข้อมูลก๊าซเรือนกระจก.  (GHG Reporting System). ผศ.ดร.คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม หัวหน้าวิจัย (ทุนจากองค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก)
3) ผู้ช่วยวิจัย โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง "โครงการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการรายงานข้อมูลก๊าซเรือนกระจกของต่างประเทศ”. ผศ.ดร.คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม หัวหน้าวิจัย (ทุนจากองค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก)
4) ผู้ช่วยวิจัย โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง "โครงการศึกษากฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวกับการรายงานข้อมูลก๊าซเรือนกระจกของประเทศกำลังพัฒนา ผศ.ดร.คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม หัวหน้าวิจัย (ทุนจากองค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก)